วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

พละ 5

พละ 5 

พละ หรือ พละ 5 คือ กำลัง ห้า ประการ[1] ได้แก่
  1. ศรัทธาพละ ความเชื่อ กำลังการควบคุมความสงสัย
  2. วิริยะพละ ความเพียร กำลังการควบคุมความเกียจคร้าน
  3. สติพละ ความระลึ อ่านเพิ่มเติม

การบริหารจิต

การบริหารจิต
              พระพุทธศาสนาเน้นเรื่องการฝึกจิตเป็นสำคัญ เพราะมนุษย์มีจิตเป็นตัวนำการ กระทำทุกอย่าง จะต้องมีการพิจารณา คิดนึกตรึกตรองเสียก่อน   การฝึกจิตหรือการบริหารจิต จึงเป็นการกระทำเพื่อให้จิตมีสภาพตั้งมั่น มีสติระลึกได้ มีสัมปชัญญะรู้สึกตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา
              การบริหารจิต  หมายถึง  การฝึกฝนอบรมจิตให้เจริญและประณีตยิ่งขึ้น  มีความปลอดโปร่ง มีความหนักแน่นมั่นคง   โดยเริ่มจากการฝึกฝ อ่านเพิ่มเติม

พุทธศาสนสุภาษิต

พุทธศาสนสุภาษิต

สุภาษิต แปลว่า  ถ้อยคำที่กล่าวไว้ดี (สุ=ดี,  ภาษิต=กล่าว) สามารถนำมาเป็นคติ   ยึดถือเป็นหลักใจได้
พุทธศาสนสุภาษิต  หมายถึง ถ้อยคำดีๆ ในพระพุทธศาสนา  แต่มิได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแท อ่านเพิ่มเติม

พระไตรปิฎก

พระไตรปิฎก 
เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า[1] ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ
  1. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยพระวินัยสิกขาบทต่าง ๆ ของภิกษุและภิกษุณี
  2. พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระสูตรซึ่งเป็นพระธรรมเทศนาของพระโคตมพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ที่แสดงแกบุคคลต่างชั้นวรรณะและการศึกษา ต่างกรรมต่างวาระกัน มีทั้งที่เป็นร้อยแก้ อ่านเพิ่มเติม

อริยสัจ

อริยสัจ 
หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประกา อ่านเพิ่มเติม

พระรัตนตรัย

พระรัตนตรัย 
หรือพระไตรรัตน์ หมายถึง แก้วสามประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน[1] ที่เรียกว่า รัตน (แก้ว) เพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ มีค่าสูง และหาได้ยาก เทียบด้วยดวงแก้วมณี
พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า, พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะ, ธรรมรัตนะ, สังฆรัตนะ ซึ่งได้แก่

ศาสนพิธี

ศาสนพิธี

  หมายถึง  ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัติในศาสนา  เมื่อนำมาใช้ในพระพุทธศาสนา  จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฎิบัติในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆ  ช่วยทำให้ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้ำใจให้ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยได้อย่างดีเยี่ยม  จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระ อ่านเพิ่มเติม
 

หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีอยู่ด้วยกัน 6 วัน 1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วันอัฏฐมีบูชา 4. วันอาสาฬหบูชา 5. วันเข้าพรรษา 6. วันออกพรรษา เมื่อถึงวันสำคัญเช่นนี้ พุทธศาสนิกชนต่างร่วมใจกันประกอบพิธีนั้น เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย และสิ่งสำคัญที่พุทธศาสนิกชนควรตระหนักคือ การน้อมเอาหลักธรรมที่เกี่ยวกับวันสำคัญเหล่านี้  อ่านเพิ่มเติม

พุทธประวัติ

พุทธประวัติ


พระพุทธเจ้ามีพระนามเดิมว่า "สิทธัตถะ" เป็พระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศเนปาล พระราชมารดาทรงพระนามว่า "พระนางสิริมหามายา" ซึ่งเป็นพระราชธิดาของกษัตริย์ราชสกุลโกลิยวง อ่านเพิ่มเติม

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา 


พระพุทธศาสนานอกจากจะเป็นศาสนาประจำชาติไทย และเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยแล้วพระพุทธศาสนายังเป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทยอีกด้วย จะเห็นได้จากวิถีชีวิตของคนไทยที่ผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา ความคิดและกิจกรรมทุกด้านของชาติไทยล้วนผสมผสานอยู่ในพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา    พระพุทธศาสนาได้ อ่านเพิ่มเติม